Language : | |
Call : 02-434-1111, 02-884-7000

About admin2

This author has not yet filled in any details.
So far admin2 has created 179 blog entries.

แพ็กเกจผ่าตัดนิ้วล็อค และแพ็กเกจผ่าตัดภาวะพังผืดทับเส้นประสาทที่ข้อมือ

2023-12-27T14:57:16+00:00

แพ็กเกจผ่าตัดนิ้วล็อค และแพ็กเกจผ่าตัดภาวะพังผืดทับเส้นประสาทที่ข้อมือ2023-12-27T14:57:16+00:00

วัคซีนป้องกันไข้เลือดออก (4 สายพันธุ์) สำหรับผู้ใหญ่

2024-08-22T13:31:10+00:00

   

วัคซีนป้องกันไข้เลือดออก (4 สายพันธุ์) สำหรับผู้ใหญ่2024-08-22T13:31:10+00:00

วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ ชนิด High Dose สำหรับผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป

2024-01-02T08:52:58+00:00

โรงพยาบาลเจ้าพระยาขอแนะนำวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ ชนิด High Dose สำหรับผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ทำไมวัคซีน จึงจำเป็นสำหรับและผู้สูงอายุ?           จากวัยเด็กสู่วัยผู้ใหญ่ ภูมิคุ้มกันต่อเชื้อโรคในร่างกายจะลดลงตามอายุ"วัคซีน"จึงนับเป็นตัวช่วยสำคัญในการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกายลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคต่างๆ ของคนทุกวัย คนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าวัคซีนจำเป็นสำหรับเด็กที่มีภูมิคุ้มกันต่ำเท่านั้น แต่ในความจริงวัคซีนก็จำเป็นสำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุเช่นกัน โดยเฉพาะวัยสูงอายุ เพราะสาเหตุต่อไปนี้ ร่างกายของผู้สูงอายุเริ่มมีความเสื่อม และมีภูมิคุ้มกันต่ำกว่าหนุ่มสาว จึงทำให้เกิดโรคแทรกซ้อน และติดเชื้อโรคได้ง่ายกว่า โดยมักพบว่าผู้สูงอายุจะไวต่อการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ วัคซีนหลายชนิดที่เคยฉีดก็ไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อโรคได้ตลอดชีวิต เพราะภูมิคุ้มกันโรคจากวัคซีนเหล่านั้นจะลดลงไปเรื่อย ๆ        โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนนั้นส่วนใหญ่เป็นโรคที่ติดเชื้อแล้วมีความรุนแรง รักษายากเมื่อเกิดในผู้สูงอายุ เช่น โรคบาดทะยัก โรคไข้หวัดใหญ่และโรคปอดบวม เป็นต้น การป้องกันย่อมดีกว่าการรักษา ทั้งการลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ ลดความรุนแรงเมื่อติดเชื้อโรคเหล่านั้น และลดค่าใช้จ่ายในการรักษา เป้าหมายสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุคือการทำให้ผู้สูงอายุแข็งแรง สามารถใช้ชีวิตได้ปกติ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี การให้วัคซีนอย่างเหมาะสมในผู้สูงอายุจึงเป็นเรื่องสำคัญ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ (Influenza Vaccine)           ประเทศไทยมีไข้หวัดใหญ่ระบาดทั้งปี แต่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดในช่วงฤดูฝนและต้นปี โดยเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ที่ระบาดในประเทศไทยจะคล้ายกับสายพันธุ์ซีกโลกใต้ [...]

วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ ชนิด High Dose สำหรับผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป2024-01-02T08:52:58+00:00

รพ.เจ้าพระยาร่วมกิจกรรมวิ่งวันหัวใจโลก World Heart Day Fun Run 2023 ของมูลนิธิหัวใจฯ ณ สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์

2023-09-25T15:28:37+00:00

รพ.เจ้าพระยาร่วมกิจกรรมวิ่งวันหัวใจโลก World Heart Day Fun Run 2023 ของมูลนิธิหัวใจฯ ณ สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์2023-09-25T15:28:37+00:00

แพ็กเกจส่องกล้องตรวจทางเดินปัสสาวะ CYSTOSCOPY (OPD)

2024-03-28T10:38:13+00:00

แพ็กเกจส่องกล้องตรวจทางเดินปัสสาวะ CYSTOSCOPY (OPD)2024-03-28T10:38:13+00:00

โครงการจิตอาสาพระราชทาน “เราทำความ ดี ด้วยหัวใจ” ร่วมกับ สำนักงานเขตบางกอกน้อย

2023-09-22T16:34:19+00:00

โครงการจิตอาสาพระราชทาน “เราทำความ ดี ด้วยหัวใจ” ร่วมกับ สำนักงานเขตบางกอกน้อย2023-09-22T16:34:19+00:00

ภาพบบรรยากาศงาน Amarin Baby Kids หัวข้อ”เทคนิคเสริมภูมิคุ้มกันปลายฝนต้นหนาว”

2023-10-10T10:15:45+00:00

ภาพบรรยากาศงานสัมมนาออนไลน์และรับชมย้อนหลัง Live FaceBook งาน Amarin Baby Kids หัวข้อ"เทคนิคเสริมภูมิคุ้มกันปลายฝนต้นหนาว"

ภาพบบรรยากาศงาน Amarin Baby Kids หัวข้อ”เทคนิคเสริมภูมิคุ้มกันปลายฝนต้นหนาว”2023-10-10T10:15:45+00:00

พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง สมาธิไม่ดีในเด็ก อาจจะเกิดจากการนอนที่ไม่ดีได้นะ

2023-09-13T15:39:33+00:00

            ปัญหาพฤติกรรมของเด็ก โดยเฉพาะตอนไปโรงเรียน เป็นเรื่องหนึ่งที่ทำให้คุณพ่อคุณแม่ต้องเป็นกังวลกันอยู่บ่อยๆ โดยเฉพาะพฤติกรรมซน อยู่ไม่นิ่ง สมาธิในการเรียนไม่ดี มักจะทำให้คุณครูเข้าใจว่าตัวเด็กเป็นโรคซนสมาธิสั้นหรือ ADHD (attention deficit hyperactivity disorder) ซึ่งเป็นโรคพัฒนาการล่าช้ารูปแบบหนึ่งที่พบได้ค่อนข้างบ่อย อย่างไรก็ดี สาเหตุของการที่เด็กมีอาการไม่นิ่ง หรือสมาธิไม่ดี อาจจะเกิดจากสาเหตุอื่นๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็น โรคความบกพร่องของทักษะการเรียนรู้เฉพาะด้าน หรือโรค LD (learning disabilities) ภาวะสติปัญญาบกพร่อง (intellectual disability) โรคลมชักชนิดเหม่อ (absence epilepsy) และเกิดจากการนอนที่ไม่ดี           การนอนหลับเป็นกระบวนการที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ มีประโยชน์ทั้งในด้านการพักผ่อนและเป็นการเปิดระบบการทำงานของร่างกายอีกหลายส่วนที่จะเกิดขึ้นเฉพาะหรือเกิดขึ้นเด่นในช่วงของการนอนหลับเท่านั้น ไม่ว่าจะเป็น การหลั่งฮอร์โมนการเจริญเติบโต (growth hormone) ในช่วงการหลับลึก การกระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในช่วงการหลับลึก และการสร้างความจำระยะยาว (long-term memory formation) ในหลายช่วงของการนอนหลับ ดังนั้น หากการนอนหลับเกิดขึ้นได้ไม่ดี [...]

พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง สมาธิไม่ดีในเด็ก อาจจะเกิดจากการนอนที่ไม่ดีได้นะ2023-09-13T15:39:33+00:00

แคลเซียมในหลอดเลือดคืออะไร

2023-09-11T09:25:21+00:00

แคลเซียมในหลอดเลือดคืออะไร มาสำรวจความเสื่อมและประเมินความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจกันเถอะ หินปูนเกาะหลอดเลือดหัวใจ..เสี่ยงหัวใจวายเฉียบพลัน หากพบค่าที่สูงกว่า 400 มีโอกาสที่ผู้ป่วยจะเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจตีบในระยะเวลา 2-5 ปีข้างหน้า รับชมวิดิโอให้ความรู้แคลเซียมในหลอดเลือดได้ที่นี่ โรงพยาบาลเจ้าพระยาขอแนะนำโปรแกรมตรวจปริมาณคราบหินปูนเกาะบนผนังหลอดเลือดหัวใจ CT Calcium Scoring

แคลเซียมในหลอดเลือดคืออะไร2023-09-11T09:25:21+00:00